1. ดับเบิลคลิกไฟล์ VirtualWindowsXP.msi
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Welcome to Setup for Virtual Windows XP ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ถัดไปให้ระบุตำแหน่งสำหรับติดตั้ง Virtual hard Disk ให้คลิก Next
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Setup Completed ให้คลิก Finish เพื่อจบการติดตั้ง โดยแนะนำให้เลือกเช็คบ็อกซ์ Launch Virtual Windows XP เพื่อให้ระบบทำการเปิด Virtual Windows XP ให้อัตโนมัติ จากนั้นให้ดำเนินการขั้นตอนที่ 5 ต่อ
หมายเหตุ: กรณีไม่ได้เลือกเช็คบ็อกซ์ Launch Virtual Windows XP ให้ทำการเปิดด้วยตนเอง โดยคลิก Start คลิก All Programs คลิก Windows Virtual PC แล้วคลิก Virtual Windows XP
หมายเหตุ: กรณีไม่ได้เลือกเช็คบ็อกซ์ Launch Virtual Windows XP ให้ทำการเปิดด้วยตนเอง โดยคลิก Start คลิก All Programs คลิก Windows Virtual PC แล้วคลิก Virtual Windows XP
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Virtual Windows XP License Agreement ให้เลือกเช็คบ็อกซ์ I accept the license terms เสร็จแล้วคลิก Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Specify the password for Virtual Windows XP ให้ป้อนรหัสผ่านในช่องPassword และ Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
หากต้องการให้ทำการล็อกออนเข้า Virtual Windows XP โดยอัตโนมัติให้เลือกเช็คบ็อกซ์ Remember credentials
หากต้องการให้ทำการล็อกออนเข้า Virtual Windows XP โดยอัตโนมัติให้เลือกเช็คบ็อกซ์ Remember credentials
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Help protect your computer ให้เลือก Help protect my computer by turning on Automatic Updates now หรือ Not right now (ในที่นี้เลือกแบบหลัง) เสร็จแล้วคลิก Next
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Setting up Virtual Windows XP for first use ให้รอจนการติดตั้งแล้วเสร็จ
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Enter your credentials ให้ป้อนรหัสผ่านที่กำหนดในขั้นตอนที่ 7 เสร็จแล้วคลิก OK
ในกรณีที่เลือกเช็คบ็อกซ์ Remember credentials ในขั้นตอนที่ 7 ระบบจะทำการล็อกออนเข้า Virtual Windows XP ให้อัตโนมัติ
ในกรณีที่เลือกเช็คบ็อกซ์ Remember credentials ในขั้นตอนที่ 7 ระบบจะทำการล็อกออนเข้า Virtual Windows XP ให้อัตโนมัติ
11. ระบบจะทำการโหลดฟีเจอร์ต่างๆ ครู่หนึ่ง จากนั้นจะเปิดหน้าต่าง Virtual Windows XP ดังรูปที่ 11 ซึ่งพร้อมใช้งานเหมือนกับ Windows XP ธรรมดาตัวหนึ่ง
สำหรับเวอร์ชันของ Virtual Windows XP นั้น จะเป็นเวอร์ชัน Windows XP Professional Service Pack 3 ดังรูป
คำสั่ง DOS
คำสั่งของ DOS มีอยู่ 2 ชนิดคือ
1. คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคำสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจำหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคำสั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น คำสั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS คำสั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ เมื่อต้องการใช้คำสั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคำสั่งเข้าสู๋หน่วยความจำ ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคำสั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคำสั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คำสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น
2. คำสั่งภายนอก (External Command)
รูปแบบและการใช้คำสั่งต่าง ๆ
ในการใช้คำสั่งต่าง ๆ ของ DOS จะมีการกำหนดอักษรหรือสัญลักษณ์ ใช้แทนข้อความของรูปแบบคำสั่ง ดังนี้
[d:] | หมายถึง | Drive เช่น A:, B: |
[path] | หมายถึง | ชื่อไดเรคเตอรี่ย่อย |
[filename] | หมายถึง | ชื่อแฟ้มข้อมูล หรือ ชื่อไฟล์ |
[.ext] | หมายถึง | ส่วนขยาย หรือนามสกุล |
หมายเหตุ ข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ([ ] ) ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องใส่ในคำสั่ง |
- 2. ชื่อไดเรคตอรี่ย่อย [path]
- 3. ชื่อไฟล์ [filename] ต้องเป็นภาษาอังกฤษหรือเลขอารบิค มีไม่เกิน 8 ตัวอักษร ห้ามเว้นวรรค ห้ามใช้เครื่องหมายอื่นใด ( ปัจจุบันเครื่องที่เป็น Windows95/98 สามารถตั้งชื่อไฟล์ได้ 255 ตัวอักษร และสามารถตั้งเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ ) 4. ส่วนขยายหรือนามสกุล [.ext] ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
- ขณะนั้น รูปแบบ : CLS
- รูปแบบและการใช้คำสั่งภายใน (Internal Command)
- คำสั่งลบข้อมูลบนจอภาพCLS (CLEAR SCREEN)รูปแบบ : DATE
- คำสั่ง แก้ไข วัน เดือน ปี
DATE
- เมื่อขึ้น C: ให้พิมพ์ DATE กด Enter
- พบข้อความว่า Current date is jan 03-19-2001
- ป้อนให้ถูกต้องตรงตามวันที่ปัจจุบัน
3. คำสั่งแก้ไขเวลา รูปแบบ : TIME
TIME
- กรณีเดียวกันกับ วัน เดือน ปี
- พบข้อความว่า Current time is 11:10:20
- ป้อนให้ถูกต้องตรงตามเวลาปัจจุบัน
4. คำสั่ง ดูรุ่น หมายเลข ( Version ) ของดอส รูปแบบ : Ver
VER (VERSION)
5. การเปลี่ยน Drive
- จาก A:\ เป็น C:\ ให้พิมพ์ C: กด Enter
- จะขึ้น C:\
- จะขึ้น C:\
6. คำสั่ง ดูชื่อแฟ้มข้อมูล, เนื้อที่บนแผ่นดิสก์, ชื่อแผ่นดิกส์ รูปแบบ : DIR [d:] [path] [filename [.ext]] [/p] [/w]
DIR (DIRECTORY)
/p
7. คำสั่ง COPY
ใช้คัดลอกแฟ้มข้อมูลหนึ่ง หรือหลายแฟ้มข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลต้นทาง ไปยังแฟ้มข้อมูลปลายทางอาจจะเป็นจากแผ่นดิสก์แผ่นหนึ่งหรือแผ่นดิสก์เดิมก็ได้ เช่น
A:> COPY DATA.DAT C: BAT.DAT
หมายถึง การสั่งให้นำสำเนาแฟ้มต้นฉบับจาก ดิสเกต Drive A: ที่มีชื่อแฟ้มว่า DATA.DAT มาทำสำเนาให้ปรากฏใน Drive B: ที่มีชื่อแฟ้มว่า BAT.DAT
8. การใช้เครื่องหมาย ? และ * ในชื่อไฟล์ ใช้แทนตัวอักษรอะไรก็ได้ 1 ตัวอักษร ในตำแหน่งที่อยู่ใน
W?? M หมายถึง ชื่อไฟล์ที่มี W ขึ้นหน้า ตามด้วยตัวอักษรอะไรก็ได้ 2 ตัว และตามด้วย M
เครื่องหมาย * ใช้แทนตัวอักษรอะไรก็ได้ ยาวเท่าใดก็ได้ เช่น *.* ชื่อไฟล์อะไรก็ได้ นามสกุลอะไรก็ได้ เช่น
DIR S* หมายถึง แสดงชื่อไฟล์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร S หรือ
DIR ?O* หมายถึง แสดงชื่อไฟล์ ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรอะไรก็ได้ตามด้วย O แล้วต่อท้ายด้วยอักษรอะไรก็ได้
A:\ COPY*.* B: หมายถึง ให้ทำสำเนาแฟ้มไปสู่ Drive B:
A:\COPY C*.* B: หมายถึง ให้ทำสำเนาจากแฟ้มต้นฉบับ ใน Drive A: โดยเลือกเฉพาะแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นว่า C ทุกไฟล์ เช่น CAT.DAT, CAR.DOC เป็นต้น
W?? M หมายถึง ชื่อไฟล์ที่มี W ขึ้นหน้า ตามด้วยตัวอักษรอะไรก็ได้ 2 ตัว และตามด้วย M
เครื่องหมาย * ใช้แทนตัวอักษรอะไรก็ได้ ยาวเท่าใดก็ได้ เช่น *.* ชื่อไฟล์อะไรก็ได้ นามสกุลอะไรก็ได้ เช่น
DIR S* หมายถึง แสดงชื่อไฟล์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร S หรือ
DIR ?O* หมายถึง แสดงชื่อไฟล์ ที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรอะไรก็ได้ตามด้วย O แล้วต่อท้ายด้วยอักษรอะไรก็ได้
A:\ COPY*.* B: หมายถึง ให้ทำสำเนาแฟ้มไปสู่ Drive B:
A:\COPY C*.* B: หมายถึง ให้ทำสำเนาจากแฟ้มต้นฉบับ ใน Drive A: โดยเลือกเฉพาะแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นว่า C ทุกไฟล์ เช่น CAT.DAT, CAR.DOC เป็นต้น
?
9. คำสั่ง DEL หรือ Erase
คือ การลบแฟ้มข้อมูล รูปแบบ: DEL
ตัวอย่าง เช่นC:\DEL A:\DATA.DOCกด Enter หมายความว่า ต้องการลบไฟล์ที่มีชื่อว่า DATA จากDrive A: มีผลทำให้ไฟล์ดังกล่าวหายไปจากแผ่นดิสก์10. คำสั่ง RENAME
คือ การเปลี่ยนชื่อไฟล์ รูปแบบ: REN [d:] [path] [oldfilename[.ext]] [newfilename[.ext]] ตัวอย่างเช่น
REN A: DATA MEETING.DOC SILVER.DOC
หมายถึง เปลี่ยนชื่อจาก Drive A: แฟ้ม DATA ชื่อไฟล์ MEETING.DOC เป็น SILVER.DOC แทน
REN A: DATA MEETING.DOC SILVER.DOC
หมายถึง เปลี่ยนชื่อจาก Drive A: แฟ้ม DATA ชื่อไฟล์ MEETING.DOC เป็น SILVER.DOC แทน
การจัดการ Directory เป็นการจัดการไฟล์ข้อมูล แนวคิดต้นไม้ มีดังนี้ MD ( MKDIR) คือการสร้างกิ่งต้นไม้ ตัวอย่างเช่น
- คำสั่ง
A:\MD Sheet
- คำสั่ง CD (CHDIR) คือ การเปลี่ยนตำแหน่งของกิ่งต้นไม้ หรือ Directory ที่เราต้องการเข้าไป เช่นคือ การสร้าง Directory ชื่อ Sheet ไว้ที่ Drive A เมื่อใช้คำสั่ง DIR ดูจะเห็น Directory ดังกล
- คำสั่ง RDA:\RD DATA คือ การลบ Directory ที่เราได้สร้างไว้ ใน Drive A: หากมี Directory ดังกล่าวจะขึ้นข้อความว่าInvalid path,not directory,Or directory not empty(RMDIR) คือ การลบกิ่งต้นไม้ หรือ ไฟล์ข้อมูล ตัวอย่างเช่น
/w หมายถึง แสดงชื่อแฟ้มข้อมูลตามความกว้างของจอภาพ1. Drive [d :] ที่เราใช้งาน ได้แก่ A: B: C: หรือ D: